หลักสูตร PDPA in action
Khun. Rubkwan Choldumrongkul
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สร้างความน่าเชื่อถือสู่องค์กร ป้องกันความเสียหายทั้งเจ้าของข้อมูลและภาพลักษณ์องค์กร ด้วยการเคร่งครัดในนโยบาย PDPA
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล สร้างความน่าเชื่อถือสู่องค์กร
ป้องกันความเสียหายทั้งเจ้าของข้อมูลและภาพลักษณ์องค์กร ด้วยการเคร่งครัดในนโยบาย PDPA :
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.ศ. 2562 เนื่องมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
ทำให้การละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลส่วนบุคคลง่ายขึ้น อาจเกิดความความเสียหายในวงกว้างภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย จึงต้องมีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการเก็บ
รวบรวมเพื่อใช้ข้อมูล
COURSE OUTLINE
1. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ PDPA ในภาพรวม
- PDPA คืออะไร เหตุผลและความสำคัญ
- ศัพท์เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับงาน PDPA
2. ความหมายและประเภทของข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Identiable Information)
3.บทบาทหน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Data Controller)
4. เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลคือใคร บทบาทหน้าที่ต้องเป็นอย่างไร (DPO)
5. ประเมินความชอบด้วยกฎหมาย ตามวัตถุระสงค์การใช้ช้อมูลเป็นหลัก
- ฐานในการประมวลผลข้อมูลที่ชอบด้วยกฎหมาย
- ฐานกฎหมาย
- ฐานสัญญา
- ฐานประโยชน์ชอบด้วยกฎหมาย
- ฐานความความยินยอม
6. สิทธิของเจ้าของข้อมูลมีอะไรบ้างที่องค์กรต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ
7. การบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคลที่มีอยู่เดิม
8. บทลงโทษหากไม่ปฏิบัติตาม PDPA
KEY OUTCOME
1. เพื่อศึกษาข้อมูลและทำความเข้าใจบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ ตามกฎหมาย
2. เรียนรู้ถึงความสำคัญและจำเป็นในเรื่องการนำ PDPA เข้ามาปรับใช้ภายในองค์กร
3.ได้ทราบถึงข้อบังคับใช้และข้อปฏิบัติ รวมถึงบทลงโทษที่ตามมา หากไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนด
4. สามารถเตรียมตัวเพื่อรองรับกฎหมาย PDPA เพื่อหลีกเลี่ยงค่าปรับจากการกระทำผิดที่เกี่ยวข้อง
Khun. Rubkwan Choldumrongkul
ประกอบด้วย
ประกอบด้วย